“มือล่องหน" เทคโนโลยีใหม่ช่วยผู้พิการแขน-ขา รู้สึกถึงอุณหภูมิได้

0 0
Read Time:1 Minute, 52 Second

ฟาบริซิโอ ฟิดาติ (Fabrizio Fidati) ไม่เคยรู้สึกถึงความร้อน หรือความเย็นเลย หลังจากเสียมือขวาไปในอุบัติเหตุเมื่อ 25 ปีก่อน จนกระทั่งวันนี้ ที่เขาและผู้สวมใส่อวัยวะเทียมอีก 27 คน ได้ร่วมการทดลองเทคโนโลยีใหม่ที่พัฒนาโดยสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิส โลซาน (EPFL)

เทคโนโลยีนี้ช่วยให้ผู้ป่วยรับรู้อุณหภูมิของวัตถุต่างๆ ได้ ทั้งความเย็นของน้ำที่ไหล หรือความร้อนจากเตาแก๊สฟาบริซิโอบอกว่า นี่เป็นครั้งแรกที่เขาได้ร่วมการทดลองอะไรแบบนี้ ซึ่งมันเหมือนกับว่า เขาได้ความรู้สึกกลับมาอีกครั้งในมือล่องหน คำพูดจาก เว็บสล็อต777

ที่ฟาบริซิโอเรียกว่า “มือล่องหน” หรือ phantom hand ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ความรู้สึกที่ผู้พิการแขนขารู้สึกเหมือนว่ามือที่หายไปยังอยู่ โดยเทคโนโลยีนี้ นักวิจัยได้ติดขั้วไฟฟ้าอุณหภูมิบนแขนข้างที่ขาดของฟาบริซิโอ ด้วยเซนเซอร์ที่ติดอยู่บนผิว เขาและผู้ร่วมทดลองคนอื่นต่างบอกว่ารู้สึกร้อนและเย็น และสามารถแยกแยะวัตถุระหว่างพลาสติก แก้ว และทองแดงได้

เทคโนโลยีซึ่งทดสอบมานานกว่าสองปีแล้ว ไม่จำเป็นต้องมีการฝังอุปกรณ์ลงไป แต่สามารถติดได้บนผิว และใช้ร่วมกับมือเทียมทั่วไปได้ ศาสตราจารย์ซิลเวสโตร มิเซรา (Silvestro Micera) ผู้ร่วมวิจัย อธิบายว่า ส่วนประกอบหลัก 2 ส่วนคือ ระบบที่สามารถเก็บข้อมูลอุณหภูมิขณะที่มือเทียมจับอยู่ และอีกระบบที่สามารถส่งข้อมูลไปยังอวัยวะที่หลังเหลืออยู่ โดยกระตุ้นด้วยอุณหภูมิ ขั้นตอนต่อไปสำหรับทีมนักวิจัย คือ ทดสอบอุปกรณ์กับกลุ่มตัวอย่างจำนวนมากขึ้น ก่อนจะนำไปผนวกกับเทคโนโลยีอื่นๆ เพื่อพัฒนาความรู้สึกในการสัมผัสให้ดีขึ้น ฟาบริซิโอ บอกว่า การทดลองนี้ทำให้เขามีความหวังว่าจะมีอวัยวะเทียมที่ล้ำสมัยมากขึ้นออกมา เพราะตอนนี้ อวัยวะเทียมที่มีอยู่เคลื่อนไว้ได้แค่ง่ายๆ เช่น เปิดและปิด ซึ่งเขาหวังว่าอวัยวะเทียมในอนาคตจะทำอะไรได้มากขึ้น และทำให้เขารู้สึกถึงสิ่งที่เขาหยิบจับได้ด้วย

เปิดภาพ 3 มิติ เรือไททานิคครั้งแรกในรอบ 100 ปีหลังดิ่งมหาสมุทร

มลพิษพลาสติกทั่วโลก ลดลงได้ถึง 80% ในปี 2040

Happy
Happy
0 %
Sad
Sad
0 %
Excited
Excited
0 %
Sleepy
Sleepy
0 %
Angry
Angry
0 %
Surprise
Surprise
0 %

ฟาบริซิโอ ฟิดาติ (Fabrizio Fidati) ไม่เคยรู้สึกถึงความร้อน หรือความเย็นเลย หลังจากเสียมือขวาไปในอุบัติเหตุเมื่อ 25 ปีก่อน จนกระทั่งวันนี้ ที่เขาและผู้สวมใส่อวัยวะเทียมอีก 27 คน ได้ร่วมการทดลองเทคโนโลยีใหม่ที่พัฒนาโดยสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิส โลซาน (EPFL)

เทคโนโลยีนี้ช่วยให้ผู้ป่วยรับร…